Avant Contract Home & Living ก่อนสร้างบ้านระวังเรื่องความร้อน คำแนะนำก่อนสร้างบ้าน

ก่อนสร้างบ้านระวังเรื่องความร้อน คำแนะนำก่อนสร้างบ้าน

คำแนะนำก่อนสร้างบ้าน

ด้วยความที่ประเทศไทยของเราเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน ทำให้มีอากาศร้อนจัดเกือบตลอดทั้งปี ดังนั้นการสร้างบ้านในฝันของคุณขึ้นมาสัก 1 หลัง นอกเหนือไปจากความสวยงามขนาดพื้นที่ต่าง ๆ ตามที่คุณต้องการแล้ว สิ่งหนึ่งที่คุณต้องใส่ใจก็คือการสร้างบ้านให้ลดความร้อนให้ได้มากที่สุด ซึ่งจะทำให้ช่วยประหยัดค่าไฟและทำให้เหมาะแก่การอยู่อาศัยในระยะยาวซึ่งในบทความนี้ เราก็มีเคล็ดลับดี ๆ ที่จะนำมาแนะนำให้คุณทำความเข้าใจ ก่อนที่จะสร้างบ้านให้เกิดความร่มเย็นกัน 

1. ติดตั้งเครื่องปรับอากาศอัจฉริยะ

ตัวควบคุมอุณหภูมิอัจฉริยะหรือตัวควบคุม AC ที่ทำงานร่วมกับเครื่องปรับอากาศ จะช่วยทำให้บ้านของคุณรักษาระดับความชื้นตามต้องการได้ ซึ่งจะทำหน้าที่ปรับการตั้งค่าแบบอัตโนมัติ และจะช่วยประหยัดพลังงานหรือค่าไฟไปได้มาก

2. มองหาดวงอาทิตย์

ก่อนออกแบบบ้าน ต้องมีการพิจารณาว่าดวงอาทิตย์จะกระทบกับบ้านของคุณในมุมใด โดยทิศตะวันออกจะมีแสงแดดสาดส่องในช่วงเช้า ดังนั้นห้องครัวของคุณควรอยู่ในทิศนี้ เพราะจะได้รับประโยชน์จากแสงแดดยามเช้า ควรหลีกเลี่ยงการสร้างห้องนอนทางทิศใต้หรือทิศตะวันตกเฉียงใต้ เนื่องจากจะทำให้ร้อนจัดในฤดูร้อน ส่วนพื้นที่ใช้สอยหลัก เช่น ห้องนอน ควรอยู่ทางด้านทิศเหนือ  

3. เลือกใช้กระจกหรือฟิล์มกันแสง UV

แนะนำให้คุณใช้กระจกกันแสงยูวี เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้แสงแดดทำให้บ้านของคุณร้อนมากจนเกินไป หรือที่ง่ายกว่านั้น คือ การติดตั้งมู่ลี่เพื่อทำให้แสงแดดส่องเข้ามาได้แบบไม่แรงจนเกินไปนัก เช่น ความร้อนจากการแผ่รังสีดวงอาทิตย์ สามารถสร้างความเสียหายให้กับบ้านของคุณได้ หรือถ้าหากเปลี่ยนกระจกไม่ได้ แนะนำให้ติดฟิล์มป้องกันรังสี UV กับหน้าต่างที่มีอยู่แล้วก็จะช่วยแก้ปัญหาไปได้   

4. หลีกเลี่ยงปลูกพืชที่ดูดความชื้น

การปลูกต้นไม้หรือพืชจะทำให้บ้านของคุณมีความร่มเย็นก็จริง แต่พืชบางชนิดดูดความชื้นจากอากาศมากเกินไป เช่น ปาล์ม, เฟิร์น, กล้วยไม้ หรือเป็นพืชที่ชอบความชื้นมาก และทำหน้าที่เป็นเครื่องลดความชื้นตามธรรมชาติ ดังนั้นถ้าบ้านของคุณมีแดดแรงมาก แนะนำให้คุณหลีกเลี่ยงจากการปลูกพืชเหล่านี้ 

สรุปแล้ว ถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงทิศทางของแสงแดด หรืออุณหภูมิภายนอกได้ แต่คุณสามารถควบคุมอุณหภูมิภายในบ้านของคุณได้จากวิธีต่าง ๆ เหล่านี้ การใช้ประโยชน์จากสิ่งรอบตัว จะทำให้การสร้างบ้านของคุณอยู่อย่างเป็นสุข และมีความสุขมากยิ่งขึ้น ถ้าคุณใส่ใจรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ก่อนที่จะสร้างบ้านให้ครบรอบด้าน เชื่อเถอะว่าจะทำให้บ้านของคุณนั้นเป็นบ้านในฝันอย่างแท้จริงแน่นอน

Related Post

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟ

มาดู 5 อันดับเครื่องใช้ไฟฟ้ากินไฟมาดู 5 อันดับเครื่องใช้ไฟฟ้ากินไฟ

ในทุกวันนี้เราใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ากันแบบไม่ได้ทันสังเกตว่าใช้ไปมากขนาดไหน ซึ่งจะรู้อีกทีก็ตอนที่บิลค่าไฟมาเสียบอยู่ที่หน้าบ้านแล้ว ซึ่งแน่นอนว่าเราไม่สามารถเลี่ยงการใช้ไฟฟ้าได้ แต่เราสามารถใช้แบบที่จะช่วยประหยัดได้ วันนี้จะมาบอก 5 อันดับเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟกันเลย 1. เครื่องทำน้ำอุ่น  บ้านที่ใช้เครื่องทำน้ำอุ่นขนาดใหญ่มาก ๆ อาจจะใช้กำลังไฟถึง 12,000 วัตต์ วันหนึ่งอาบน้ำหลายรอบ ก็จะกินไฟมาก ซึ่งถือว่ากินไฟเยอะกว่าแอร์อีก ส่วนเครื่องทำน้ำอุ่นตัวเล็ก ๆ ก็จะกินไฟประมาณ 2,500 วัตต์ ซึ่งคิดแล้วกินไฟมากกว่าต้มน้ำด้วยแก๊สหุงต้มอาบเสียอีก 2. เครื่องปรับอากาศ  รองลงมาจากเครื่องทำน้ำอุ่นก็เครื่องปรับอากาศนี่ล่ะ เพราะอากาศเมืองไทยร้อนแบบนี้ก็อดจะเปิดแอร์นอนทุกวันไม่ได้ นอนแล้วก็ติดใจ นอนสบายจนต้องเปิดทุกคืน มีวิธีประหยัดแอร์ก็คือ

หลังคารูปแบบต่าง ๆ

ก่อนสร้างบ้านต้องรู้ หลังคารูปแบบต่าง ๆก่อนสร้างบ้านต้องรู้ หลังคารูปแบบต่าง ๆ

อีกหนึ่งองค์ประกอบของบ้านที่จะขาดไปไม่ได้เลย นั่นก็คือ หลังคา หน้าที่ของหลังคาคือป้องกันอันตรายที่จะตกใส่ตัวบ้านในมุมสูง อีกทั้งยังทำหน้าที่ลดแรงลมแรงฝนแรงพายุต่าง ๆ ให้ไหลลงสู่เบื้องล่างอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย หลังคาที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของบ้านที่แข็งแรง ดังนั้นถ้าคุณอยากจะเริ่มลงมือสร้างบ้านเป็นของตนเอง งเรื่องของหลังคานี้ก็เป็นอีกเรื่องที่คุณจะต้องใส่ใจห้ามขาดอย่างเด็ดขาด ซึ่งในบทความนี้เราก็มีหลังคา 5 รูปแบบมาแนะนำกัน 1. หลังคาหลังคาทรงปั้นหยาธรรมดา หลังคาหลังคาทรงปั้นหยามีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมที่มีสี่หน้า ความลาดชันหรือความลาดเอียงของหลังคาเกือบจะเท่ากันทุกเท่า มีสมมาตรที่เส้นกึ่งกลาง ด้านที่ยาวกว่าจะมีรูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมูด้านหลังมีรูปทรงสามเหลี่ยม   2. หลังคาจั่วแบบครึ่ง หลังคาจั่วแบบครึ่ง, แบบเจอร์กินเฮด หรือแบบหนีบ มักมีลักษณะเป็นรูปทรงหน้าจั่ว แต่จุดบนของหน้าจั่วจะถูกแทนที่ด้วยทรงนูนขนาดเล็ก ข้อดีอีกประการหนึ่งของหลังคาแบบนี้คือ สามารถวางรางน้ำที่ซ่อมได้ง่ายทั่วทั้งบ้าน อีกทั้งยังประกอบด้วยองค์ประกอบของหน้าจั่วและหลังคาทรงปั้นหยา หลังคาประเภทนี้นิยมมากในยุโรป

สร้างบ้าน มีขั้นตอนอย่างไรในการสร้างสร้างบ้าน มีขั้นตอนอย่างไรในการสร้าง

การสร้างบ้านแต่ละหลังจำเป็นต้องใช้เวลาและฝีมือในการสร้างซึ่งใครอยากได้บ้านที่สวยงามก็จำเป็นต้องเลือกผู้ให้บริการที่น่าเชื่อถือ ไว้ใจได้ ประกอบไปด้วยทีมงานมืออาชีพไม่ว่าจะเป็นช่างก่อสร้าง สถาปนิก หรือวิศวกร บทความนี้จะมากล่าวถึงขั้นตอนของการสร้างเพื่อให้ได้บ้านที่สวยงามและคงทนว่ามีอะไรบ้าง  สร้างบ้านอย่างไรให้น่าอยู่ และตอบโจทย์ความต้องการผู้อาศัย  บ้านจะน่าอยู่ได้ก็ต่อเมื่อมีการสร้างบ้านตามความต้องการของผู้อาศัย ดำเนินการผ่านผู้ให้บริการระดับเชี่ยวชาญไม่ว่าจะเป็นทีมวิศวกร ช่องก่อสร้าง สถาปนิก ปัจจุบันมีผู้รับสร้างบ้านเป็นจำนวนมากให้ทุกคนได้เลือก อยู่ที่ว่าจะเลือกบริษัทหรือผู้รับเหมามาสร้างให้กับคุณ เพราะทั้งสองแบบก็มีลักษณะการบริการที่โดดเด่นแตกต่างกัน บางคนอาจสะดวกให้บริษัทมาสร้าง ส่วนบางคนมีเวลาบ้างแล้วต้องการคุมงานเองจะเลือกใช้บริการผู้รับเหมาก่อสร้าง เพื่อให้ได้บ้านที่ตรงกับความต้องการและตอบสนองการใช้งาน รวมถึงความสะดวกสบายต่าง ๆ  ขั้นตอนการก่อสร้างบ้าน มีอะไรบ้าง  สำหรับของการสร้างบ้านจะมีอยู่หลายขั้นตอนด้วยกัน โดยสามารถกล่าวอย่างคร่าว ๆ ได้ดังต่อไปนี้  หลังจากมีแบบสร้างบ้านแล้ว ก็ทำสัญญาร่วมกับผู้ก่อสร้างแล้วดำเนินการทันที ซึ่งผู้รับเหมาจะกำหนดบริเวณที่ต้องวางแล้วย้ายเครื่องมือ ถ้าเป็นบ้านเดิมก็ต้องรื้อก่อน